วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2559

บทที่ 1 บทนำ


1. ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
การศึกษาเกี่ยวกับสารเคมี มีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ ดังนั้นการใช้สารเคมีในการศึกษาวิจัยในสถาบันศึกษาหน่วยงาน  โรงงานอุตสาหกรรม  จะก่อให้เกิดกากสารเคมี ถ้าไม่มีการที่ดีอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
    สารเคมีที่เกิดขึ้นมีหลายประเภท ดังนั้นจะต้องมีการจัดการที่เหมาะสม ซึ่งผู้ศึกษาต้องมีความรู้กับพิษของสารเคมีเหล่านั้นเพื่อกำจัดให้ถูกวิธีก่อนปล่อยออกสูสิ่งแวดล้อมดังนั้น  การศึกษาเกี่ยวกับความปลอดภัยและการจัดการเคมี จึงมีความสำคัญ
สารเคมีที่ใช้ในห้องปฏิบัติการทดลองมีหลายประเภท  บางชนิดเป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ ผู้ใช้สารเคมีจึงมีความเสี่ยงต่อที่จะเกิดขึ้นดังนั้นในหลายประเทศจึงมีการจำแนกประเภทของสารเคมีขึ้นมาได้แก่
ก .สารเคมีที่เป็นพิษ  ได้แก่  ไฮโดรเจน (HCN) โซเดียมไซยาไนด์(NaCN)ปรอล(Hg) เบเลเนียม (Belenium) สารหนู(As) ไดเอธิล-พารา-ไนโทรเฟนิล(diethyl-pnitrophenyl)
.สารเคมีที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย  ได้แก่ สารกลุ่มเอคริโลไนไทรล์(acrylonitle) เอนิ-ลิน(aniline)ไฮโดรเจนคลอโรด์  ไดโดรเจนเปอร์ออกไซด์ คลอโรฟอร์ม  โซเดียมไฮดรอกไซด์ ไนโทรเบนซิน เพตะคลอโรฟินอลนอกจากนี้ในประเทศญี่ปุ่น


 มีการแบ่งสารเคมีที่ใช่ในอุตสาหกรรมออกเป็น 3 กลุ่ม  ดังนั้นแสดงในตาตาราง  1.1
ตาราง 1.1ประเภทของสารเคมีในประเทศญี่ปุ่น
Class 1
      (a)    Hazardous chemical prohibit for production   
Yellow phosphor mach
Benzidine and its salt
4-Aminodipheny and its salts
Bis(cholromethyl) ether
Β-Naphthylamine and its salt
Gum containing benzene
Products containing compounds

      (b)    Hazardous chemical requiring permission for authorities for production
Dichorobenzidine and its salt
α-Naphthylamine and its salts
Polychlorinated biphenyl
O- Tolidine and it salts
Dianisidine and its salts
Beryllium and its compounds
Benzotrichloride
Class 2
Acrylamide
Acrylonotrile
Alkyl mercury
Asbestos
Ethyleneimine
Vinyl Chloride
Chlorine
O-phthalodinitryl
Cadmium and its compounds
Chromates
Auramine
Monochloromethyl ether
Vanadium pentaoxide
Arsenic trioxide
Hydrogen cyanide
Hydrogen sulfide

Methylbromide
Dchromate
Inorganic mercuries
Trilenendiisocyanate
Nickel carbonyl
Nitroglycol
p-Dimethylaminobnzoate
p-Notrochlorobenzene
Hydrogen fluoride
Propionolactone
Benzene
Pentachlorophenol and its sodium salt
Manganese and its compounds
Methyl iodide
3,3’-Dichloro-4,4’-diaminodiphenyl
methane

Class 3
Ammonia
Carbon monoxide
Hydrogen chloride
Nitric acid
Sulfuric dioxide
Phenol
Phosgene
Formaldehyde
Sulfuric acid


2. วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาและพัฒนาเว็บบล็อก เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับสารเคมีและการจัดการ
2. เพื่อเป็นสื่อทางการศึกษาผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 3. เพื่อเป็นประโยชน์กับบุคคลที่สนใจทั่วไป
4. เพื่อศึกษาเรื่องความปลอดภัยเกี่ยวกับสารเคมีและการจัดการอย่างเข้าใจ


3.สมมติฐานของโครงงาน
นิสิตมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกับความปลอดภัยของสารเคมและวิธีการจัดการที่ถูกต้อง


4. ขอบเขตของโครงงาน
1. ศึกษาความรู้ทั่วไปของสารเคมี
 2.ศึกษาเกี่ยวกับข้อปฏิบัติในความปลอดภัยของสารเคมี
 3.ศึกษาความรู้เกี่ยวกับการจัดการสารเคมี


5. วิธีการดำเนินงาน
1. กำหนดหัวข้อหลักเพื่อที่จะศึกษาเกี่ยวกับสารเคมี
2. ขอคำแนะนำจากอาจารย์ประจำรายวิชาและอาจารย์ประจำภาควิชาเคมี 
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
 3.วางแผนและ แบ่งหน้าที่กันศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมี
 4. นำข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าในห้องสมุดมาจัดเรียงตามหัวข้อที่วางไว้
 5. ลงมือปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้
6.  ประเมินผลการศึกษา


6. ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ได้ทราบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารเคมี
 2. ได้ศึกษาเกี่ยวกับข้อปฎิบัติในความปลอดภัยของสารเคมี
 3. ศึกษาความรู้เกี่ยวกับการจัดการสารเคมีอย่างถูกวิธี
 4. ได้ทราบถึงอันตรายที่เกิดจากสารเคมีและวิธีป้องกัน
 5.ได้สื่อการศึกษาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัยเกี่ยวกับสารเคมีและการจัดการ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น